คำถามที่พบบ่อย

คำถามที่พบบ่อย

  • A
    ตอบ

    การพิจารณาโครงการเพื่อให้ความช่วยเหลือทางการเงินแก่ประเทศเพื่อนบ้าน จะพิจารณาจากผลประโยชน์ที่ประเทศไทย ประเทศเพื่อนบ้าน และภูมิภาคจะได้รับ โดยเฉพาะประโยชน์ในการเชื่อมโยงทางด้านคมนาคมบริเวณชายแดนไทยกับประเทศเพื่อนบ้าน

    1. เป็นโครงการที่เกี่ยวเนื่องกับโครงการในขั้นต่อไปที่ประเทศ ผู้ขอรับความช่วยเหลือแสดงเจตจำนงว่าจะขอรับความช่วยเหลือทางการเงินแต่ ยังขาดข้อมูลเพียงพอในการจัดทำโครงการเพื่อขอรับความช่วยเหล

    2. เป็นโครงการขอรับความช่วยเหลือทางวิชาการ เพื่อจัดเตรียมโครงการ การศึกษาความเหมาะสมทางด้านวิศวกรรม เศรษฐศาสตร์ การเงิน สิ่งแวดล้อม และการสำรวจรายละเอียดเพื่อการออกแบบให้สามารถดำเนินโครงการในขั้นต่อไปได้ทันที

    การให้ความช่วยเหลือแบบเงินกู้ดอกเบี้ยต่ำ โครงการที่ได้รับความช่วยเหลือต้องเป็นโครงการที่มีความสำคัญในระดับต้นต่อการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศเพื่อนบ้าน

    การให้ความช่วยเหลือแบบผสม โครงการที่ได้รับความช่วยเหลือแบบผสมระหว่างเงินให้เปล่าและเงินกู้ในอัตราร้อยละ 30 ต่อ 70 โดยมีเงื่อนไขดังนี้

    เงื่อนไขทางการเงิน

    1. อัตราดอกเบี้ย ร้อยละ 1.5 ต่อปี

    2. ระยะเวลาให้ความช่วยเหลือ 30 ปี รวมระยะเวลาปลอดหนี้ 10 ปี

    3. ระยะเวลาการชำระคืนเงินต้น 20 ปี ๆ ละ 2 งวด

  • A
    ตอบ

     การจะเป็นเจ้าหน้าที่สอบได้ ต้องมาจาก

    1. สังกัดองค์กรรับรองฯ คือองค์กรรับรองฯ ส่งชื่อมายัง สคช. แล้วเปิดอบรม

    2. สังกัดสถาบันฯ คือสมัครใจเอง แต่จะมีผู้เชี่ยวชาญเป็นผู้คัดเลือก

  • A
    ตอบ

    ใช้เวลาไม่เกิน 90 โดยมีขั้นตอนดังนี้

  • A
    ตอบ

    อย่างแรกที่จะได้เมื่อสอบผ่านคือ ใบประกาศนียบัตรและหนังสือรับรองคุณวุฒิ เมื่อได้มาแล้วเอาไปทำอะไร

    สามารถนำไปสมัครงานได้ตามปกติ เพราะใบประกาศของ สคช. เปรียบเสมือนใบเป็นการการันตีว่า

    คนคนนั้นสามารถทำงานในอาชีพนั้น ได้จริง เป็นการลดช่องว่างของบุคคลที่ไม่มีวุฒิการศึกษา

    และบุคคลที่จบไม่ตรงสาขา เพื่อให้คล่องตัวยิ่งขึ้น

  • A
    ตอบ

    ใบประกาศนียบัตรคุณวุฒิวิชาชีพของสถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ เป็นการจัดระดับมาตรฐานอาชีพ

    ที่ให้การรับรองความสามารถในการประกอบวิชาชีพ เช่น อาชีพคนขับแท็กซี่ เสริมสวย แมคคาทรอนิคส์

    โลจิสติกส์ เป็นต้น อย่างอาชีพ หมอ ทนายความ วิศวกร ครู จะมีสภาอาชีพรับรอง

    ทางสถาบันจะไม่ดำเนินการซ้ำซ้อน โดยจะดำเนินการเฉพาะอาชีพที่ไม่มีสภารับรองเท่านั้น

  • A
    ตอบ

    ใช้หลากหลายวิธีในการการประเมิน เช่น การสอบข้อเขียน 

    การสัมภาษณ์ การสังเกต หน้างานจริง สาธิตการปฏิบัติงาน ฯลฯ

  • A
    ตอบ

    ใช้หลากหลายวิธีในการการประเมิน เช่น การสอบข้อเขียน 

    การสัมภาษณ์ การสังเกต หน้างานจริง สาธิตการปฏิบัติงาน ฯลฯ

  • A
    ตอบ

    เป็นผู้ประกอบอาชีพในทุกสาขาวิชาชีพ หรือ เป็นผู้สำเร็จการศึกษาทั้งที่มีและไม่มีประสบการณ์

    หรือ เป็นผู้ที่กำลังศึกษาอยู่  โดย มีคุณสมบัติครบถ้วนตามเกณฑ์ที่ระบุ

    ในมาตรฐานอาชีพที่ขอรับการรับรอง

  • A
    ตอบ

    สามารถดูข้อมูลเกี่ยวกับมาตรฐานอาชีพที่สนใจได้ทาง Website

    โดยเลือกระดับชั้นที่เหมาะสมกับทักษะความสามารถที่สุด

    และติดต่อองค์กรรับรองที่สะดวกในการไปทำการประเมิน

  • A
    ตอบ

    ไม่มีภาระกิจในการฝึกอบรม มีเพียงหน้าที่สนับสนุนกระบวนการทดสอบ

    และรับรองสมรรถนะของบุคคลตามมาตรฐานอาชีพ

    พร้อมทั้งออกใบประกาศนียบัตรและหนังสือรับรอง

  • A
    ตอบ

    ไม่จำเป็นเสมอไป ขึ้นอยู่กับความครอบคลุมของหน้าที่หลัก และหน่วยสมรรถนะในแต่ละกลุ่มอาชีพ

    ซึ่งระดับแรกของกลุ่มอาชีพ อาจจะเป็นระดับที่ 2 หรือระดับที่ 3 เลยก็ได้

  • A
    ตอบ

    ในปัจจุบันการเข้ารับการประเมินมาตรฐานอาชีพ ไม่จัดเป็นภาคบังคับ

    แต่ขึ้นอยู่กับความสมัครใจเพื่อเป็นการยกระดับมาตรฐานอาชีพของแต่ละบุคคล

  • A
    ตอบ

    สถาบันคุณวุฒิวิชาชีพไม่มีภาระกิจและอำนาจในการกำหนดเกณฑ์ หรือ อัตราค่าตอบแทน เงินเดือน

    แต่ในบางกลุ่มสาขาวิชาชีพ ที่ผู้ประกอบการได้เห็นถึงความสำคัญของการได้มาซึ่งคุณวุฒิวิชาชีพ

    จึงได้มีการกำหนดอัตราค่าตอบแทนพิเศษเพิ่มเติมให้แก่ผู้ที่รับการรับรอง คุณวุฒิวิชาชีพ

  • A
    ตอบ

    สามารถดูได้จากระบบฐานข้อมูลการให้บริการระบบคุณวุฒิวิชาชีพ

    http://tpqi-net.tpqi.go.th/home/

  • A
    ตอบ

    เกิดขึ้นจากการทำงานร่วมกันกับสมาคม สมาพันธ์ ผู้มีส่วนได้เสีย รวมถึงข้อเสนอแนะจากผู้เชี่ยวชาญในระดับต่างๆ

    ของอาชีพนั้นๆมาร่วมกันกำหนดว่ามาตรฐานอาชีพแต่ละอาชีพควรมีกี่ระดับชั้น ในแต่ละระดับชั้นต้องงมีสมรรถนะเป็นแบบไหน

    โดยสคช.ทำหน้าที่เป็นเพียงผู้ดูแลและให้การสนับสนุน ให้ดำเนินการไปตามกระบวนการเท่านั้น โดยไม่มีการชี้นำใดๆทั้งสิ้น

  • A
    ตอบ

    ประโยชน์ต่อผู้ประกอบอาชีพ คือเป็นการรับรองสมรรถนะบุคคลตามมาตรฐานอาชีพ ทั้งที่มีคุณวุฒิการศึกษา

    และไม่มีคุณวุฒิการศึกษาและเป็นเครื่องมือในการพัฒนาตนเองตามเทคโนโลยีและกระบวนการผลิตที่เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา

    ประโยชน์ต่อผู้ประกอบการ คือสามารถพิจารณาคัดเลือกบุคลากรจากประกาศนียบัตรคุณวุฒิวิชาชีพและหนังสือ

    รับรองมาตรฐานอาชีพ เพื่อให้ได้บุคลากรที่มีสมรรถนะตรงตามความต้องการ และสามารถกำหนดค่าตอบแทนได้ตรงกับสมรรถนะ