เกี่ยวกับสถาบัน

ก้าวแรกของความร่วมมือ สคช. – TIJ ถกแนวทางยกระดับผู้ต้องขังเป็นคนดีคืนสู่สังคม | ดร.อณูวรรณ วงศ์พิเชษฐ์ รองผู้อำนวยการสถาบันเพื่อการยุติธรรมแห่งประเทศไทย (TIJ) นำทีมถกร่วมกับ ทีมสถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ (องค์การมาหชน) หรือ สคช. นำโดยนางสาววรชนาธิป จันทนู รองผู้อำนวยการสถาบันฯ ถึงแนวทางความร่วมมือในการยกระดับกำลังคนกลุ่มเปราะบางที่ TIJ ทำงานร่วมกับกรมราชทัณฑ์ โดยพิจารณาให้ผู้ต้องขังบางส่วนได้รับโอกาสในการพัฒนาตัวเอง เตรียมพร้อมเป็นคนดีกลับคืนสู่สังคมโดยมีอาชีพติดตัว สามารถสร้างงาน สร้างรายได้ได้จริง ทั้งนี้การพูดคุยเห็นควรยกระดับให้กับผู้ต้องขังในอาชีพอิสระ โดยเฉพาะการประกอบอาหารเพราะผู้ต้องขังสามารถออกมาหารายได้ ได้ในทันที และเป็นโครงการที่มีการขับเคลื่อนอยู่แล้วทั้ง 2 หน่วยงาน ซึ่งสถานการณ์การระบาดของโควิด-19 ทำให้ต้องหันมาให้ความสนใจเรื่องสุขอนามัย “Hygiene Street Food” ที่หากผู้ต้องขังได้เรียนรู้ พัฒนาทักษะ พร้อมเข้าสู่การประเมิน ก็จะเป็นส่วนสำคัญที่ช่วยสร้างโอกาสให้คนเปราะบางกลุ่มนี้สามารถประกอบอาชีพได้ รวมทั้งอีกหลายอาชีพที่มีแนวโน้มในการส่งเสริมให้กลุ่มคนเปราะบางเข้าสู่ระบบการประเมิน และได้การรับรองความเป็นมืออาชีพจากหน่วยงานภาครัฐ อาทิ จัดดอกไม้ เสริมสวย ตัดเย็บเสื้อผ้า หรืออาชีพที่ สคช. มีการจัดทำมาตรฐานอาชีพแล้วเสร็จอีกกว่า 800 อาชีพ ก็จะเป็นการเปลี่ยนแปลงชีวิตกลุ่มคนเปราะบางเหล่านี้ให้กลับเป็นคนดีของสังคมได้

ก้าวแรกของความร่วมมือ สคช. – TIJ ถกแนวทางยกระดับผู้ต้องขังเป็นคนดีคืนสู่สังคม | ดร.อณูวรรณ วงศ์พิเชษฐ์ รองผู้อำนวยการสถาบันเพื่อการยุติธรรมแห่งประเทศไทย (TIJ) นำทีมถกร่วมกับ ทีมสถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ (องค์การมาหชน) หรือ สคช. นำโดยนางสาววรชนาธิป จันทนู รองผู้อำนวยการสถาบันฯ ถึงแนวทางความร่วมมือในการยกระดับกำลังคนกลุ่มเปราะบางที่ TIJ ทำงานร่วมกับกรมราชทัณฑ์ โดยพิจารณาให้ผู้ต้องขังบางส่วนได้รับโอกาสในการพัฒนาตัวเอง เตรียมพร้อมเป็นคนดีกลับคืนสู่สังคมโดยมีอาชีพติดตัว สามารถสร้างงาน สร้างรายได้ได้จริง 
ทั้งนี้การพูดคุยเห็นควรยกระดับให้กับผู้ต้องขังในอาชีพอิสระ โดยเฉพาะการประกอบอาหารเพราะผู้ต้องขังสามารถออกมาหารายได้ ได้ในทันที และเป็นโครงการที่มีการขับเคลื่อนอยู่แล้วทั้ง 2 หน่วยงาน ซึ่งสถานการณ์การระบาดของโควิด-19 ทำให้ต้องหันมาให้ความสนใจเรื่องสุขอนามัย “Hygiene Street Food” ที่หากผู้ต้องขังได้เรียนรู้ พัฒนาทักษะ พร้อมเข้าสู่การประเมิน ก็จะเป็นส่วนสำคัญที่ช่วยสร้างโอกาสให้คนเปราะบางกลุ่มนี้สามารถประกอบอาชีพได้ รวมทั้งอีกหลายอาชีพที่มีแนวโน้มในการส่งเสริมให้กลุ่มคนเปราะบางเข้าสู่ระบบการประเมิน และได้การรับรองความเป็นมืออาชีพจากหน่วยงานภาครัฐ อาทิ จัดดอกไม้ เสริมสวย ตัดเย็บเสื้อผ้า หรืออาชีพที่ สคช. มีการจัดทำมาตรฐานอาชีพแล้วเสร็จอีกกว่า 800 อาชีพ ก็จะเป็นการเปลี่ยนแปลงชีวิตกลุ่มคนเปราะบางเหล่านี้ให้กลับเป็นคนดีของสังคมได้

ก้าวแรกของความร่วมมือ สคช. – TIJ ถกแนวทางยกระดับผู้ต้องขังเป็นคนดีคืนสู่สังคม

ดร.อณูวรรณ วงศ์พิเชษฐ์ รองผู้อำนวยการสถาบันเพื่อการยุติธรรมแห่งประเทศไทย (TIJ) นำทีมถกร่วมกับ ทีมสถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ (องค์การมาหชน) หรือ สคช. นำโดยนางสาววรชนาธิป จันทนู รองผู้อำนวยการสถาบันฯ ถึงแนวทางความร่วมมือในการยกระดับกำลังคนกลุ่มเปราะบางที่ TIJ ทำงานร่วมกับกรมราชทัณฑ์ โดยพิจารณาให้ผู้ต้องขังบางส่วนได้รับโอกาสในการพัฒนาตัวเอง เตรียมพร้อมเป็นคนดีกลับคืนสู่สังคมโดยมีอาชีพติดตัว สามารถสร้างงาน สร้างรายได้ได้จริง ทั้งนี้การพูดคุยเห็นควรยกระดับให้กับผู้ต้องขังในอาชีพอิสระ โดยเฉพาะการประกอบอาหารเพราะผู้ต้องขังสามารถออกมาหารายได้ ได้ในทันที และเป็นโครงการที่มีการขับเคลื่อนอยู่แล้วทั้ง 2 หน่วยงาน ซึ่งสถานการณ์การระบาดของโควิด-19 ทำให้ต้องหันมาให้ความสนใจเรื่องสุขอนามัย “Hygiene Street Food” ที่หากผู้ต้องขังได้เรียนรู้ พัฒนาทักษะ พร้อมเข้าสู่การประเมิน ก็จะเป็นส่วนสำคัญที่ช่วยสร้างโอกาสให้คนเปราะบางกลุ่มนี้สามารถประกอบอาชีพได้ รวมทั้งอีกหลายอาชีพที่มีแนวโน้มในการส่งเสริมให้กลุ่มคนเปราะบางเข้าสู่ระบบการประเมิน และได้การรับรองความเป็นมืออาชีพจากหน่วยงานภาครัฐ อาทิ จัดดอกไม้ เสริมสวย ตัดเย็บเสื้อผ้า หรืออาชีพที่ สคช. มีการจัดทำมาตรฐานอาชีพแล้วเสร็จอีกกว่า 800 อาชีพ ก็จะเป็นการเปลี่ยนแปลงชีวิตกลุ่มคนเปราะบางเหล่านี้ให้กลับเป็นคนดีของสังคมได้

ดร.อณูวรรณ วงศ์พิเชษฐ์ รองผู้อำนวยการสถาบันเพื่อการยุติธรรมแห่งประเทศไทย (TIJ) นำทีมถกร่วมกับ ทีมสถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ (องค์การมาหชน) หรือ สคช. นำโดยนางสาววรชนาธิป จันทนู รองผู้อำนวยการสถาบันฯ ถึงแนวทางความร่วมมือในการยกระดับกำลังคนกลุ่มเปราะบางที่ TIJ ทำงานร่วมกับกรมราชทัณฑ์ โดยพิจารณาให้ผู้ต้องขังบางส่วนได้รับโอกาสในการพัฒนาตัวเอง เตรียมพร้อมเป็นคนดีกลับคืนสู่สังคมโดยมีอาชีพติดตัว สามารถสร้างงาน สร้างรายได้ได้จริง ทั้งนี้การพูดคุยเห็นควรยกระดับให้กับผู้ต้องขังในอาชีพอิสระ โดยเฉพาะการประกอบอาหารเพราะผู้ต้องขังสามารถออกมาหารายได้ ได้ในทันที และเป็นโครงการที่มีการขับเคลื่อนอยู่แล้วทั้ง 2 หน่วยงาน ซึ่งสถานการณ์การระบาดของโควิด-19 ทำให้ต้องหันมาให้ความสนใจเรื่องสุขอนามัย “Hygiene Street Food” ที่หากผู้ต้องขังได้เรียนรู้ พัฒนาทักษะ พร้อมเข้าสู่การประเมิน ก็จะเป็นส่วนสำคัญที่ช่วยสร้างโอกาสให้คนเปราะบางกลุ่มนี้สามารถประกอบอาชีพได้ รวมทั้งอีกหลายอาชีพที่มีแนวโน้มในการส่งเสริมให้กลุ่มคนเปราะบางเข้าสู่ระบบการประเมิน และได้การรับรองความเป็นมืออาชีพจากหน่วยงานภาครัฐ อาทิ จัดดอกไม้ เสริมสวย ตัดเย็บเสื้อผ้า หรืออาชีพที่ สคช. มีการจัดทำมาตรฐานอาชีพแล้วเสร็จอีกกว่า 800 อาชีพ ก็จะเป็นการเปลี่ยนแปลงชีวิตกลุ่มคนเปราะบางเหล่านี้ให้กลับเป็นคนดีของสังคมได้
วันที่ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการ