เกี่ยวกับสถาบัน

สคช. ประชุมร่วมคณะกรรมาธิการการท่องเที่ยว วุฒิสภา ถกแนวทางการพัฒนาบุคลากรด้านการท่องเที่ยวทางน้ำ รองรับการเป็นท่าเรือต้นทาง หรือ Home Port | สคช. ประชุมร่วมคณะกรรมาธิการการท่องเที่ยว วุฒิสภา ถกแนวทางการพัฒนาบุคลากรด้านการท่องเที่ยวทางน้ำ รองรับการเป็นท่าเรือต้นทาง หรือ Home Port นางสาววรชนาธิป จันทนู รองผู้อำนวยการสถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ เป็นตัวแทนสถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ (องค์การมหาชน) หรือ สคช. เข้าร่วมประชุมกับคณะกรรมาธิการพิจารณาศึกษาการพัฒนาคุณภาพการท่องเที่ยวทางน้ำและอื่นๆ ในคณะกรรมาธิการการท่องเที่ยว วุฒิสภา เพื่อหารือแนวทางการพัฒนาบุคลากร เพื่อเตรียมความพร้อมในการพัฒนาท่าเรือภูเก็ตเป็นท่าเรือต้นทาง (Home Port) รองรับเรือสำราญ ซึ่งมีความจำเป็นต้องมีบุคลากรเพื่อสนับสนุนการทำงาน เดินหน้าพัฒนาด้านการท่องเที่ยวได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยมีหน่วยงานทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และสถาบันการศึกษาเข้าร่วมประชุม อาทิ กรมเจ้าท่า กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน มหาวิทยาลัยศรีปทุม มหาวิทยาลัยบูรพา และสมาคมวิชาชีพเรือสำราญแห่งประเทศไทย เป็นต้น นางสาววรชนาธิป กล่าวว่า ที่ผ่านมาสถาบันฯ ยังไม่ได้มีการดำเนินงานในส่วนที่เกี่ยวข้องกับอาชีพเรือสำราญโดยตรง แต่ได้มีการส่งเสริมและพัฒนาบุคลากรด้านการท่องเที่ยวมาอย่างต่อเนื่อง ในปีงบประมาณ 2565 ได้มีการจัดทำมาตรฐานอาชีพเพื่อพัฒนาบุคลากรที่ปฏิบัติงานเกี่ยวข้องกับเรือยอร์ช เพื่อสนับสนุนการท่องเที่ยวทางน้ำอย่างเต็มที่ เนื่องจากการฟื้นตัวของธุรกิจการท่องเที่ยวทางทะเลด้วยเรือยอร์ชในประเทศไทยได้รับความนิยมจากนักท่องเที่ยวทั้งในและต่างประเทศเป็นอย่างมาก โดยเฉพาะการรับนักท่องเที่ยว Test & Go ทางน้ำ หลังรัฐบาลเริ่มมีการผ่อนคลายมาตรการ ซึ่งจะกระตุ้นกลุ่มนักท่องเที่ยว ที่นิยมการเดินทางด้วยเรือยอร์ช และเรือสำราญ เนื่องจากมีศักยภาพในการใช้จ่ายสูง มีแนวโน้มขยายตัวอย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะ พัทยา และภูเก็ต ส่งผลให้ต้องมีการจัดทำมาตรฐานอาชีพที่เกี่ยวข้องกับเรือยอร์ช ใน 4 กลุ่มอาชีพ คือ ช่างซ่อมเรือ ผู้ขับเรือ ช่างต่อเรือ และผู้ปฏิบัติงานบนเรือหรือกลุ่มบริการบนเรือ ซึ่งกลุ่มนี้อาจจะมีส่วนสำคัญในการนำมาตรฐานอาชีพที่เกี่ยวข้อง จะเป็นการพัฒนาบุคลากรที่ตอบโจทย์อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว ทั้งในเรื่องของการให้บริการที่มีมาตรฐานความและมีความปลอดภัย สามารถสร้างความเชื่อมั่นให้กับนักท่องเที่ยวได้ นอกจากนี้ สคช. พร้อมต่อยอดให้กับบุคลากรที่เกี่ยวข้อง ในการพัฒนากำลังคนไปสู่ธุรกิจเรือสำราญ ไม่ว่าจะเป็นหลักสูตรระยะสั้นที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาทักษะด้านภาษาอังกฤษ การเข้าไปเพิ่มทักษะในระบบ E-Training รวมไปถึงการประยุกต์ใช้มาตรฐานอาชีพที่เกี่ยวข้องกับ Food Beverage ที่สามารถเชื่อมโยงและปรับใช้กับการให้บริการบนเรือสำราญได้ พร้อมการันตรีด้วยหนังสือรับรองฯ และประกาศนียบัตรคุณวุฒิวิชาชีพ ที่สากลให้การยอมรับ ซึ่งจะเป็นส่วนหนึ่งในการพัฒนาบุคลากรรองรับการเติบโตของธุรกิจการท่องเที่ยวทางน้ำต่อไป

สคช. ประชุมร่วมคณะกรรมาธิการการท่องเที่ยว วุฒิสภา ถกแนวทางการพัฒนาบุคลากรด้านการท่องเที่ยวทางน้ำ รองรับการเป็นท่าเรือต้นทาง หรือ Home Port | สคช. ประชุมร่วมคณะกรรมาธิการการท่องเที่ยว วุฒิสภา ถกแนวทางการพัฒนาบุคลากรด้านการท่องเที่ยวทางน้ำ รองรับการเป็นท่าเรือต้นทาง หรือ Home Port

นางสาววรชนาธิป จันทนู รองผู้อำนวยการสถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ เป็นตัวแทนสถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ (องค์การมหาชน) หรือ สคช. เข้าร่วมประชุมกับคณะกรรมาธิการพิจารณาศึกษาการพัฒนาคุณภาพการท่องเที่ยวทางน้ำและอื่นๆ ในคณะกรรมาธิการการท่องเที่ยว วุฒิสภา เพื่อหารือแนวทางการพัฒนาบุคลากร เพื่อเตรียมความพร้อมในการพัฒนาท่าเรือภูเก็ตเป็นท่าเรือต้นทาง (Home Port) รองรับเรือสำราญ ซึ่งมีความจำเป็นต้องมีบุคลากรเพื่อสนับสนุนการทำงาน เดินหน้าพัฒนาด้านการท่องเที่ยวได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยมีหน่วยงานทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และสถาบันการศึกษาเข้าร่วมประชุม อาทิ กรมเจ้าท่า กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน มหาวิทยาลัยศรีปทุม มหาวิทยาลัยบูรพา และสมาคมวิชาชีพเรือสำราญแห่งประเทศไทย เป็นต้น

นางสาววรชนาธิป กล่าวว่า ที่ผ่านมาสถาบันฯ ยังไม่ได้มีการดำเนินงานในส่วนที่เกี่ยวข้องกับอาชีพเรือสำราญโดยตรง แต่ได้มีการส่งเสริมและพัฒนาบุคลากรด้านการท่องเที่ยวมาอย่างต่อเนื่อง ในปีงบประมาณ 2565 ได้มีการจัดทำมาตรฐานอาชีพเพื่อพัฒนาบุคลากรที่ปฏิบัติงานเกี่ยวข้องกับเรือยอร์ช เพื่อสนับสนุนการท่องเที่ยวทางน้ำอย่างเต็มที่ เนื่องจากการฟื้นตัวของธุรกิจการท่องเที่ยวทางทะเลด้วยเรือยอร์ชในประเทศไทยได้รับความนิยมจากนักท่องเที่ยวทั้งในและต่างประเทศเป็นอย่างมาก โดยเฉพาะการรับนักท่องเที่ยว Test & Go ทางน้ำ หลังรัฐบาลเริ่มมีการผ่อนคลายมาตรการ ซึ่งจะกระตุ้นกลุ่มนักท่องเที่ยว ที่นิยมการเดินทางด้วยเรือยอร์ช และเรือสำราญ เนื่องจากมีศักยภาพในการใช้จ่ายสูง มีแนวโน้มขยายตัวอย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะ พัทยา และภูเก็ต ส่งผลให้ต้องมีการจัดทำมาตรฐานอาชีพที่เกี่ยวข้องกับเรือยอร์ช ใน 4 กลุ่มอาชีพ คือ ช่างซ่อมเรือ ผู้ขับเรือ ช่างต่อเรือ และผู้ปฏิบัติงานบนเรือหรือกลุ่มบริการบนเรือ ซึ่งกลุ่มนี้อาจจะมีส่วนสำคัญในการนำมาตรฐานอาชีพที่เกี่ยวข้อง จะเป็นการพัฒนาบุคลากรที่ตอบโจทย์อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว ทั้งในเรื่องของการให้บริการที่มีมาตรฐานความและมีความปลอดภัย สามารถสร้างความเชื่อมั่นให้กับนักท่องเที่ยวได้ 

นอกจากนี้ สคช. พร้อมต่อยอดให้กับบุคลากรที่เกี่ยวข้อง ในการพัฒนากำลังคนไปสู่ธุรกิจเรือสำราญ ไม่ว่าจะเป็นหลักสูตรระยะสั้นที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาทักษะด้านภาษาอังกฤษ การเข้าไปเพิ่มทักษะในระบบ E-Training  รวมไปถึงการประยุกต์ใช้มาตรฐานอาชีพที่เกี่ยวข้องกับ Food Beverage ที่สามารถเชื่อมโยงและปรับใช้กับการให้บริการบนเรือสำราญได้ พร้อมการันตรีด้วยหนังสือรับรองฯ และประกาศนียบัตรคุณวุฒิวิชาชีพ ที่สากลให้การยอมรับ ซึ่งจะเป็นส่วนหนึ่งในการพัฒนาบุคลากรรองรับการเติบโตของธุรกิจการท่องเที่ยวทางน้ำต่อไป

สคช. ประชุมร่วมคณะกรรมาธิการการท่องเที่ยว วุฒิสภา ถกแนวทางการพัฒนาบุคลากรด้านการท่องเที่ยวทางน้ำ รองรับการเป็นท่าเรือต้นทาง หรือ Home Port

สคช. ประชุมร่วมคณะกรรมาธิการการท่องเที่ยว วุฒิสภา ถกแนวทางการพัฒนาบุคลากรด้านการท่องเที่ยวทางน้ำ รองรับการเป็นท่าเรือต้นทาง หรือ Home Port นางสาววรชนาธิป จันทนู รองผู้อำนวยการสถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ เป็นตัวแทนสถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ (องค์การมหาชน) หรือ สคช. เข้าร่วมประชุมกับคณะกรรมาธิการพิจารณาศึกษาการพัฒนาคุณภาพการท่องเที่ยวทางน้ำและอื่นๆ ในคณะกรรมาธิการการท่องเที่ยว วุฒิสภา เพื่อหารือแนวทางการพัฒนาบุคลากร เพื่อเตรียมความพร้อมในการพัฒนาท่าเรือภูเก็ตเป็นท่าเรือต้นทาง (Home Port) รองรับเรือสำราญ ซึ่งมีความจำเป็นต้องมีบุคลากรเพื่อสนับสนุนการทำงาน เดินหน้าพัฒนาด้านการท่องเที่ยวได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยมีหน่วยงานทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และสถาบันการศึกษาเข้าร่วมประชุม อาทิ กรมเจ้าท่า กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน มหาวิทยาลัยศรีปทุม มหาวิทยาลัยบูรพา และสมาคมวิชาชีพเรือสำราญแห่งประเทศไทย เป็นต้น นางสาววรชนาธิป กล่าวว่า ที่ผ่านมาสถาบันฯ ยังไม่ได้มีการดำเนินงานในส่วนที่เกี่ยวข้องกับอาชีพเรือสำราญโดยตรง แต่ได้มีการส่งเสริมและพัฒนาบุคลากรด้านการท่องเที่ยวมาอย่างต่อเนื่อง ในปีงบประมาณ 2565 ได้มีการจัดทำมาตรฐานอาชีพเพื่อพัฒนาบุคลากรที่ปฏิบัติงานเกี่ยวข้องกับเรือยอร์ช เพื่อสนับสนุนการท่องเที่ยวทางน้ำอย่างเต็มที่ เนื่องจากการฟื้นตัวของธุรกิจการท่องเที่ยวทางทะเลด้วยเรือยอร์ชในประเทศไทยได้รับความนิยมจากนักท่องเที่ยวทั้งในและต่างประเทศเป็นอย่างมาก โดยเฉพาะการรับนักท่องเที่ยว Test & Go ทางน้ำ หลังรัฐบาลเริ่มมีการผ่อนคลายมาตรการ ซึ่งจะกระตุ้นกลุ่มนักท่องเที่ยว ที่นิยมการเดินทางด้วยเรือยอร์ช และเรือสำราญ เนื่องจากมีศักยภาพในการใช้จ่ายสูง มีแนวโน้มขยายตัวอย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะ พัทยา และภูเก็ต ส่งผลให้ต้องมีการจัดทำมาตรฐานอาชีพที่เกี่ยวข้องกับเรือยอร์ช ใน 4 กลุ่มอาชีพ คือ ช่างซ่อมเรือ ผู้ขับเรือ ช่างต่อเรือ และผู้ปฏิบัติงานบนเรือหรือกลุ่มบริการบนเรือ ซึ่งกลุ่มนี้อาจจะมีส่วนสำคัญในการนำมาตรฐานอาชีพที่เกี่ยวข้อง จะเป็นการพัฒนาบุคลากรที่ตอบโจทย์อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว ทั้งในเรื่องของการให้บริการที่มีมาตรฐานความและมีความปลอดภัย สามารถสร้างความเชื่อมั่นให้กับนักท่องเที่ยวได้ นอกจากนี้ สคช. พร้อมต่อยอดให้กับบุคลากรที่เกี่ยวข้อง ในการพัฒนากำลังคนไปสู่ธุรกิจเรือสำราญ ไม่ว่าจะเป็นหลักสูตรระยะสั้นที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาทักษะด้านภาษาอังกฤษ การเข้าไปเพิ่มทักษะในระบบ E-Training รวมไปถึงการประยุกต์ใช้มาตรฐานอาชีพที่เกี่ยวข้องกับ Food Beverage ที่สามารถเชื่อมโยงและปรับใช้กับการให้บริการบนเรือสำราญได้ พร้อมการันตรีด้วยหนังสือรับรองฯ และประกาศนียบัตรคุณวุฒิวิชาชีพ ที่สากลให้การยอมรับ ซึ่งจะเป็นส่วนหนึ่งในการพัฒนาบุคลากรรองรับการเติบโตของธุรกิจการท่องเที่ยวทางน้ำต่อไป

สคช. ประชุมร่วมคณะกรรมาธิการการท่องเที่ยว วุฒิสภา ถกแนวทางการพัฒนาบุคลากรด้านการท่องเที่ยวทางน้ำ รองรับการเป็นท่าเรือต้นทาง หรือ Home Port นางสาววรชนาธิป จันทนู รองผู้อำนวยการสถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ เป็นตัวแทนสถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ (องค์การมหาชน) หรือ สคช. เข้าร่วมประชุมกับคณะกรรมาธิการพิจารณาศึกษาการพัฒนาคุณภาพการท่องเที่ยวทางน้ำและอื่นๆ ในคณะกรรมาธิการการท่องเที่ยว วุฒิสภา เพื่อหารือแนวทางการพัฒนาบุคลากร เพื่อเตรียมความพร้อมในการพัฒนาท่าเรือภูเก็ตเป็นท่าเรือต้นทาง (Home Port) รองรับเรือสำราญ ซึ่งมีความจำเป็นต้องมีบุคลากรเพื่อสนับสนุนการทำงาน เดินหน้าพัฒนาด้านการท่องเที่ยวได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยมีหน่วยงานทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และสถาบันการศึกษาเข้าร่วมประชุม อาทิ กรมเจ้าท่า กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน มหาวิทยาลัยศรีปทุม มหาวิทยาลัยบูรพา และสมาคมวิชาชีพเรือสำราญแห่งประเทศไทย เป็นต้น นางสาววรชนาธิป กล่าวว่า ที่ผ่านมาสถาบันฯ ยังไม่ได้มีการดำเนินงานในส่วนที่เกี่ยวข้องกับอาชีพเรือสำราญโดยตรง แต่ได้มีการส่งเสริมและพัฒนาบุคลากรด้านการท่องเที่ยวมาอย่างต่อเนื่อง ในปีงบประมาณ 2565 ได้มีการจัดทำมาตรฐานอาชีพเพื่อพัฒนาบุคลากรที่ปฏิบัติงานเกี่ยวข้องกับเรือยอร์ช เพื่อสนับสนุนการท่องเที่ยวทางน้ำอย่างเต็มที่ เนื่องจากการฟื้นตัวของธุรกิจการท่องเที่ยวทางทะเลด้วยเรือยอร์ชในประเทศไทยได้รับความนิยมจากนักท่องเที่ยวทั้งในและต่างประเทศเป็นอย่างมาก โดยเฉพาะการรับนักท่องเที่ยว Test & Go ทางน้ำ หลังรัฐบาลเริ่มมีการผ่อนคลายมาตรการ ซึ่งจะกระตุ้นกลุ่มนักท่องเที่ยว ที่นิยมการเดินทางด้วยเรือยอร์ช และเรือสำราญ เนื่องจากมีศักยภาพในการใช้จ่ายสูง มีแนวโน้มขยายตัวอย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะ พัทยา และภูเก็ต ส่งผลให้ต้องมีการจัดทำมาตรฐานอาชีพที่เกี่ยวข้องกับเรือยอร์ช ใน 4 กลุ่มอาชีพ คือ ช่างซ่อมเรือ ผู้ขับเรือ ช่างต่อเรือ และผู้ปฏิบัติงานบนเรือหรือกลุ่มบริการบนเรือ ซึ่งกลุ่มนี้อาจจะมีส่วนสำคัญในการนำมาตรฐานอาชีพที่เกี่ยวข้อง จะเป็นการพัฒนาบุคลากรที่ตอบโจทย์อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว ทั้งในเรื่องของการให้บริการที่มีมาตรฐานความและมีความปลอดภัย สามารถสร้างความเชื่อมั่นให้กับนักท่องเที่ยวได้ นอกจากนี้ สคช. พร้อมต่อยอดให้กับบุคลากรที่เกี่ยวข้อง ในการพัฒนากำลังคนไปสู่ธุรกิจเรือสำราญ ไม่ว่าจะเป็นหลักสูตรระยะสั้นที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาทักษะด้านภาษาอังกฤษ การเข้าไปเพิ่มทักษะในระบบ E-Training รวมไปถึงการประยุกต์ใช้มาตรฐานอาชีพที่เกี่ยวข้องกับ Food Beverage ที่สามารถเชื่อมโยงและปรับใช้กับการให้บริการบนเรือสำราญได้ พร้อมการันตรีด้วยหนังสือรับรองฯ และประกาศนียบัตรคุณวุฒิวิชาชีพ ที่สากลให้การยอมรับ ซึ่งจะเป็นส่วนหนึ่งในการพัฒนาบุคลากรรองรับการเติบโตของธุรกิจการท่องเที่ยวทางน้ำต่อไป
วันที่ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการ